วันอังคารที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2554




พฤติกรรมเบี่ยงเบนประเภทการทำแท้ง
การทำให้ลูกแท้งลูก คือ การทำให้ทารกคลอดจากครรภ์มารดาก่อนกำหนด ในลักษณะที่ไม่มีชีวิต
การทำแท้งเป็นพฤติกรรมเบี่ยงเบนในสังคมไทย
กฎหมายตราสามดวง สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ผู้ใดให้ยาท่านกิน ลูกในท้องต้องตาย ให้เอาตัวแม่มันกึ่งหนึ่ง ตัวไหมทวีคูณเป็นไหมกึ่งพินัยกึ่ง แล้วให้ทวน 60 ที เอาขึ้นที่ประจานแล้วจำไว้ในคุก ถ้าตายทั้งแม่ทั้งลูกให้มันตายตกไปตามกัน
การทำแท้ง หมายถึง การตั้งครรภ์ที่สิ้นสุดก่อนการตั้งครรภ์ 28 สัปดาห์ หรือคิดตามน้ำหนักเด็กต่ำกว่า 1,000 กรัม จึงจะถือเป็นแท้ง (องค์การอนามัยโลก)
ประเภทของการทำแท้ง
1.        การทำแท้งโดยธรรมชาติ (Spontaneous Abortion)
2.        การทำแท้ง (Induced or Artificial Abortion)
-    แท้งเพื่อการรักษา ( Therapeutic Abortion)
-    แท้งผิดกฎหมาย (Criminal Abortion)
แบ่งตามเกณฑ์กฎหมาย
1.      การทำแท้งโดยถูกต้องตามกฎหมาย (Legal Abortion)
ตัวอย่าง                   สุขภาพ
                                ข่มขืน
2.   การทำแท้งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย (Illegal Abortion)
ประวัติการทำแท้ง
การทำแท้งเป็นนโยบายในการจัดระเบียบประชากรที่ดี
·         ในอดีต กรีก โรมัน ไม่มีนโยบายในการลงโทษการทำแท้งในระยะแรกของการตั้งครรภ์
·         อริสโตเติล               “ชีวิตเกิดขึ้นเมื่ออยู่ในครรภ์ได้ 40 วัน   = ชาย      90 วัน = หญิง
ภายใต้กฎหมายโรมัน ชีวิตเกิดขึ้นทั้งหญิงและชายเมื่ออยู่ในครรภ์ได้ 40 วัน
การทำแท้งในระยะ 40 วันแรกของการตั้งครรภ์ ไม่ถือว่าเป็นฆาตกร
·         St. Thomas Aquinas (นักปราชญ์คาธอลิค ใน ศ. 10)
ชีวิตเกิดขึ้นเมื่อตัวอ่อนฝังตัวในมดลูก
·         Pope Gregory IX (1227 – 1241) ประกาศว่า การทำแท้งจะทำได้ในระยะ 40 วันแรกของการตั้งครรภ์ ซึ่งทารกยังไม่มีการเคลื่อนไหว
·        กฎหมายของประเทศอังกฤษใน ศ. 13 ยอมรับว่าการทำแท้งว่าสามารถกระทำได้ในระยะแรกของการตั้งครรภ์ จนกว่าทารกในครรภ์จะเคลื่อนไหวได้
·        สหรัฐอเมริกา กฎหมายมาจากอังกฤษ ยอมให้ทำแท้งได้ ในระยะแรกของการตั้งครรภ์
·         ปี ค.. 1869 Pope Pius IX ถือว่าทารกในครรภ์มีชีวิต และไม่มีระยะใดที่ไม่มีชีวิต
 ตั้งแต่นั้นมา วัดคาธอลิค ก็ถือว่า การทำแท้งเป็นการฆาตกรรม และผู้ทำต้องถูกลงโทษอย่างหนัก
·         ปี ค.. 1803 กฎหมายต่อต้านการทำแท้ง เริ่มใช้เป็นครั้งแรกในประเทศอังกฤา
·         ปี ค.. 1821 รัฐคอนเน็คติกัต ได้ลงโทษการทำแท้ง ขณะที่เด็กทารกในครรภ์ดิ้น โดยให้ดื่มยาพิษ (รัฐอื่น ๆ ถือว่าการทำแท้งผิดกฎหมาย)
·         ปี ค.. 1860 ยกเว้นให้มีการทำแท้งได้ ถ้าจำเป็นเพื่อช่วยชีวิตสตรี

การทำแท้งกลายเป็นอาชญากรรม
1.        เดิมการทำแท้งทำให้ติดเชื้อ
-          มีโรคแทรกซ้อนเกิดขึ้น สตรีถึงแก่ชีวิต
-          กลาง ศ. 19 คลื่อมนุษยธรรมในการปกป้องสตรี ได้กดดันให้ออกกฎหมายทำแท้ง
2.        การสูญเสียประชากร
-          การขาดแคลนแรงงาน
3.        แนวความคิดที่ว่า กามารมณ์เป็นสิ่งเลวร้าย การตั้งครรภ์เป็นการลงโทษความสุขที่เกิดจากความสัมพันธ์ทางเศ ความเจ็บปวดที่ได้รับจากการทำแท้งจะเป็นบทเรียนให้สตรี รู้สึกเข็ดหลาบต่อกามารมณ์

พฤติกรรมการทำแท้ง นอกเหนือจากกฎหมายกำหนด เป็นพฤติกรรมเบี่ยงเบน
สาเหตุ
1.  สังคม
·         เนื่องจากสภาพสังคมที่เปลี่ยนไป เช่น ค่านิยมในเรื่องการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
·         ปัญหาอาชญากรรม การข่มขืนที่เพิ่มมากขึ้น
2.  เศรษฐกิจ
·         การมีปัญหาเศรษฐกิจ ทำให้ไม่สามารถเลี่ยงดูบุตรได้
3.  การแพทย์
·         การประสบปัญหาสุขภาพ ทำให้ผู้เป็นแม่ไม่สามารถมีบุตรได้
การทำแท้ง ขัดต่อ
- บรรทัดฐาน
- ขนบธรรมเนียมประเพณี
- ศีลธรรม
พฤติกรรมเบี่ยงเบนประเภทการทำแท้ง
การทำให้ลูกแท้งลูก คือ การทำให้ทารกคลอดจากครรภ์มารดาก่อนกำหนด ในลักษณะที่ไม่มีชีวิต
การทำแท้งเป็นพฤติกรรมเบี่ยงเบนในสังคมไทย
กฎหมายตราสามดวง สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ผู้ใดให้ยาท่านกิน ลูกในท้องต้องตาย ให้เอาตัวแม่มันกึ่งหนึ่ง ตัวไหมทวีคูณเป็นไหมกึ่งพินัยกึ่ง แล้วให้ทวน 60 ที เอาขึ้นที่ประจานแล้วจำไว้ในคุก ถ้าตายทั้งแม่ทั้งลูกให้มันตายตกไปตามกัน
การทำแท้ง หมายถึง การตั้งครรภ์ที่สิ้นสุดก่อนการตั้งครรภ์ 28 สัปดาห์ หรือคิดตามน้ำหนักเด็กต่ำกว่า 1,000 กรัม จึงจะถือเป็นแท้ง (องค์การอนามัยโลก)
ประเภทของการทำแท้ง
1.        การทำแท้งโดยธรรมชาติ (Spontaneous Abortion)
2.        การทำแท้ง (Induced or Artificial Abortion)
-    แท้งเพื่อการรักษา ( Therapeutic Abortion)
-    แท้งผิดกฎหมาย (Criminal Abortion)
แบ่งตามเกณฑ์กฎหมาย
1.      การทำแท้งโดยถูกต้องตามกฎหมาย (Legal Abortion)
ตัวอย่าง                   สุขภาพ
                                ข่มขืน
2.   การทำแท้งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย (Illegal Abortion)
ประวัติการทำแท้ง
การทำแท้งเป็นนโยบายในการจัดระเบียบประชากรที่ดี
·         ในอดีต กรีก โรมัน ไม่มีนโยบายในการลงโทษการทำแท้งในระยะแรกของการตั้งครรภ์
·         อริสโตเติล               “ชีวิตเกิดขึ้นเมื่ออยู่ในครรภ์ได้ 40 วัน   = ชาย      90 วัน = หญิง
ภายใต้กฎหมายโรมัน ชีวิตเกิดขึ้นทั้งหญิงและชายเมื่ออยู่ในครรภ์ได้ 40 วัน
การทำแท้งในระยะ 40 วันแรกของการตั้งครรภ์ ไม่ถือว่าเป็นฆาตกร
·         St. Thomas Aquinas (นักปราชญ์คาธอลิค ใน ศ. 10)
ชีวิตเกิดขึ้นเมื่อตัวอ่อนฝังตัวในมดลูก
·         Pope Gregory IX (1227 – 1241) ประกาศว่า การทำแท้งจะทำได้ในระยะ 40 วันแรกของการตั้งครรภ์ ซึ่งทารกยังไม่มีการเคลื่อนไหว
·        กฎหมายของประเทศอังกฤษใน ศ. 13 ยอมรับว่าการทำแท้งว่าสามารถกระทำได้ในระยะแรกของการตั้งครรภ์ จนกว่าทารกในครรภ์จะเคลื่อนไหวได้
·        สหรัฐอเมริกา กฎหมายมาจากอังกฤษ ยอมให้ทำแท้งได้ ในระยะแรกของการตั้งครรภ์
·         ปี ค.. 1869 Pope Pius IX ถือว่าทารกในครรภ์มีชีวิต และไม่มีระยะใดที่ไม่มีชีวิต
 ตั้งแต่นั้นมา วัดคาธอลิค ก็ถือว่า การทำแท้งเป็นการฆาตกรรม และผู้ทำต้องถูกลงโทษอย่างหนัก
·         ปี ค.. 1803 กฎหมายต่อต้านการทำแท้ง เริ่มใช้เป็นครั้งแรกในประเทศอังกฤา
·         ปี ค.. 1821 รัฐคอนเน็คติกัต ได้ลงโทษการทำแท้ง ขณะที่เด็กทารกในครรภ์ดิ้น โดยให้ดื่มยาพิษ (รัฐอื่น ๆ ถือว่าการทำแท้งผิดกฎหมาย)
·         ปี ค.. 1860 ยกเว้นให้มีการทำแท้งได้ ถ้าจำเป็นเพื่อช่วยชีวิตสตรี

การทำแท้งกลายเป็นอาชญากรรม
1.        เดิมการทำแท้งทำให้ติดเชื้อ
-          มีโรคแทรกซ้อนเกิดขึ้น สตรีถึงแก่ชีวิต
-          กลาง ศ. 19 คลื่อมนุษยธรรมในการปกป้องสตรี ได้กดดันให้ออกกฎหมายทำแท้ง
2.        การสูญเสียประชากร
-          การขาดแคลนแรงงาน
3.        แนวความคิดที่ว่า กามารมณ์เป็นสิ่งเลวร้าย การตั้งครรภ์เป็นการลงโทษความสุขที่เกิดจากความสัมพันธ์ทางเศ ความเจ็บปวดที่ได้รับจากการทำแท้งจะเป็นบทเรียนให้สตรี รู้สึกเข็ดหลาบต่อกามารมณ์

พฤติกรรมการทำแท้ง นอกเหนือจากกฎหมายกำหนด เป็นพฤติกรรมเบี่ยงเบน
สาเหตุ
1.  สังคม
·         เนื่องจากสภาพสังคมที่เปลี่ยนไป เช่น ค่านิยมในเรื่องการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
·         ปัญหาอาชญากรรม การข่มขืนที่เพิ่มมากขึ้น
2.  เศรษฐกิจ
·         การมีปัญหาเศรษฐกิจ ทำให้ไม่สามารถเลี่ยงดูบุตรได้
3.  การแพทย์
·         การประสบปัญหาสุขภาพ ทำให้ผู้เป็นแม่ไม่สามารถมีบุตรได้
การทำแท้ง ขัดต่อ
- บรรทัดฐาน
- ขนบธรรมเนียมประเพณี
- ศีลธรรม


                                                              

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น