วันอังคารที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2554




พฤติกรรมเบี่ยงเบนประเภทการทำแท้ง
การทำให้ลูกแท้งลูก คือ การทำให้ทารกคลอดจากครรภ์มารดาก่อนกำหนด ในลักษณะที่ไม่มีชีวิต
การทำแท้งเป็นพฤติกรรมเบี่ยงเบนในสังคมไทย
กฎหมายตราสามดวง สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ผู้ใดให้ยาท่านกิน ลูกในท้องต้องตาย ให้เอาตัวแม่มันกึ่งหนึ่ง ตัวไหมทวีคูณเป็นไหมกึ่งพินัยกึ่ง แล้วให้ทวน 60 ที เอาขึ้นที่ประจานแล้วจำไว้ในคุก ถ้าตายทั้งแม่ทั้งลูกให้มันตายตกไปตามกัน
การทำแท้ง หมายถึง การตั้งครรภ์ที่สิ้นสุดก่อนการตั้งครรภ์ 28 สัปดาห์ หรือคิดตามน้ำหนักเด็กต่ำกว่า 1,000 กรัม จึงจะถือเป็นแท้ง (องค์การอนามัยโลก)
ประเภทของการทำแท้ง
1.        การทำแท้งโดยธรรมชาติ (Spontaneous Abortion)
2.        การทำแท้ง (Induced or Artificial Abortion)
-    แท้งเพื่อการรักษา ( Therapeutic Abortion)
-    แท้งผิดกฎหมาย (Criminal Abortion)
แบ่งตามเกณฑ์กฎหมาย
1.      การทำแท้งโดยถูกต้องตามกฎหมาย (Legal Abortion)
ตัวอย่าง                   สุขภาพ
                                ข่มขืน
2.   การทำแท้งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย (Illegal Abortion)
ประวัติการทำแท้ง
การทำแท้งเป็นนโยบายในการจัดระเบียบประชากรที่ดี
·         ในอดีต กรีก โรมัน ไม่มีนโยบายในการลงโทษการทำแท้งในระยะแรกของการตั้งครรภ์
·         อริสโตเติล               “ชีวิตเกิดขึ้นเมื่ออยู่ในครรภ์ได้ 40 วัน   = ชาย      90 วัน = หญิง
ภายใต้กฎหมายโรมัน ชีวิตเกิดขึ้นทั้งหญิงและชายเมื่ออยู่ในครรภ์ได้ 40 วัน
การทำแท้งในระยะ 40 วันแรกของการตั้งครรภ์ ไม่ถือว่าเป็นฆาตกร
·         St. Thomas Aquinas (นักปราชญ์คาธอลิค ใน ศ. 10)
ชีวิตเกิดขึ้นเมื่อตัวอ่อนฝังตัวในมดลูก
·         Pope Gregory IX (1227 – 1241) ประกาศว่า การทำแท้งจะทำได้ในระยะ 40 วันแรกของการตั้งครรภ์ ซึ่งทารกยังไม่มีการเคลื่อนไหว
·        กฎหมายของประเทศอังกฤษใน ศ. 13 ยอมรับว่าการทำแท้งว่าสามารถกระทำได้ในระยะแรกของการตั้งครรภ์ จนกว่าทารกในครรภ์จะเคลื่อนไหวได้
·        สหรัฐอเมริกา กฎหมายมาจากอังกฤษ ยอมให้ทำแท้งได้ ในระยะแรกของการตั้งครรภ์
·         ปี ค.. 1869 Pope Pius IX ถือว่าทารกในครรภ์มีชีวิต และไม่มีระยะใดที่ไม่มีชีวิต
 ตั้งแต่นั้นมา วัดคาธอลิค ก็ถือว่า การทำแท้งเป็นการฆาตกรรม และผู้ทำต้องถูกลงโทษอย่างหนัก
·         ปี ค.. 1803 กฎหมายต่อต้านการทำแท้ง เริ่มใช้เป็นครั้งแรกในประเทศอังกฤา
·         ปี ค.. 1821 รัฐคอนเน็คติกัต ได้ลงโทษการทำแท้ง ขณะที่เด็กทารกในครรภ์ดิ้น โดยให้ดื่มยาพิษ (รัฐอื่น ๆ ถือว่าการทำแท้งผิดกฎหมาย)
·         ปี ค.. 1860 ยกเว้นให้มีการทำแท้งได้ ถ้าจำเป็นเพื่อช่วยชีวิตสตรี

การทำแท้งกลายเป็นอาชญากรรม
1.        เดิมการทำแท้งทำให้ติดเชื้อ
-          มีโรคแทรกซ้อนเกิดขึ้น สตรีถึงแก่ชีวิต
-          กลาง ศ. 19 คลื่อมนุษยธรรมในการปกป้องสตรี ได้กดดันให้ออกกฎหมายทำแท้ง
2.        การสูญเสียประชากร
-          การขาดแคลนแรงงาน
3.        แนวความคิดที่ว่า กามารมณ์เป็นสิ่งเลวร้าย การตั้งครรภ์เป็นการลงโทษความสุขที่เกิดจากความสัมพันธ์ทางเศ ความเจ็บปวดที่ได้รับจากการทำแท้งจะเป็นบทเรียนให้สตรี รู้สึกเข็ดหลาบต่อกามารมณ์

พฤติกรรมการทำแท้ง นอกเหนือจากกฎหมายกำหนด เป็นพฤติกรรมเบี่ยงเบน
สาเหตุ
1.  สังคม
·         เนื่องจากสภาพสังคมที่เปลี่ยนไป เช่น ค่านิยมในเรื่องการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
·         ปัญหาอาชญากรรม การข่มขืนที่เพิ่มมากขึ้น
2.  เศรษฐกิจ
·         การมีปัญหาเศรษฐกิจ ทำให้ไม่สามารถเลี่ยงดูบุตรได้
3.  การแพทย์
·         การประสบปัญหาสุขภาพ ทำให้ผู้เป็นแม่ไม่สามารถมีบุตรได้
การทำแท้ง ขัดต่อ
- บรรทัดฐาน
- ขนบธรรมเนียมประเพณี
- ศีลธรรม
พฤติกรรมเบี่ยงเบนประเภทการทำแท้ง
การทำให้ลูกแท้งลูก คือ การทำให้ทารกคลอดจากครรภ์มารดาก่อนกำหนด ในลักษณะที่ไม่มีชีวิต
การทำแท้งเป็นพฤติกรรมเบี่ยงเบนในสังคมไทย
กฎหมายตราสามดวง สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ผู้ใดให้ยาท่านกิน ลูกในท้องต้องตาย ให้เอาตัวแม่มันกึ่งหนึ่ง ตัวไหมทวีคูณเป็นไหมกึ่งพินัยกึ่ง แล้วให้ทวน 60 ที เอาขึ้นที่ประจานแล้วจำไว้ในคุก ถ้าตายทั้งแม่ทั้งลูกให้มันตายตกไปตามกัน
การทำแท้ง หมายถึง การตั้งครรภ์ที่สิ้นสุดก่อนการตั้งครรภ์ 28 สัปดาห์ หรือคิดตามน้ำหนักเด็กต่ำกว่า 1,000 กรัม จึงจะถือเป็นแท้ง (องค์การอนามัยโลก)
ประเภทของการทำแท้ง
1.        การทำแท้งโดยธรรมชาติ (Spontaneous Abortion)
2.        การทำแท้ง (Induced or Artificial Abortion)
-    แท้งเพื่อการรักษา ( Therapeutic Abortion)
-    แท้งผิดกฎหมาย (Criminal Abortion)
แบ่งตามเกณฑ์กฎหมาย
1.      การทำแท้งโดยถูกต้องตามกฎหมาย (Legal Abortion)
ตัวอย่าง                   สุขภาพ
                                ข่มขืน
2.   การทำแท้งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย (Illegal Abortion)
ประวัติการทำแท้ง
การทำแท้งเป็นนโยบายในการจัดระเบียบประชากรที่ดี
·         ในอดีต กรีก โรมัน ไม่มีนโยบายในการลงโทษการทำแท้งในระยะแรกของการตั้งครรภ์
·         อริสโตเติล               “ชีวิตเกิดขึ้นเมื่ออยู่ในครรภ์ได้ 40 วัน   = ชาย      90 วัน = หญิง
ภายใต้กฎหมายโรมัน ชีวิตเกิดขึ้นทั้งหญิงและชายเมื่ออยู่ในครรภ์ได้ 40 วัน
การทำแท้งในระยะ 40 วันแรกของการตั้งครรภ์ ไม่ถือว่าเป็นฆาตกร
·         St. Thomas Aquinas (นักปราชญ์คาธอลิค ใน ศ. 10)
ชีวิตเกิดขึ้นเมื่อตัวอ่อนฝังตัวในมดลูก
·         Pope Gregory IX (1227 – 1241) ประกาศว่า การทำแท้งจะทำได้ในระยะ 40 วันแรกของการตั้งครรภ์ ซึ่งทารกยังไม่มีการเคลื่อนไหว
·        กฎหมายของประเทศอังกฤษใน ศ. 13 ยอมรับว่าการทำแท้งว่าสามารถกระทำได้ในระยะแรกของการตั้งครรภ์ จนกว่าทารกในครรภ์จะเคลื่อนไหวได้
·        สหรัฐอเมริกา กฎหมายมาจากอังกฤษ ยอมให้ทำแท้งได้ ในระยะแรกของการตั้งครรภ์
·         ปี ค.. 1869 Pope Pius IX ถือว่าทารกในครรภ์มีชีวิต และไม่มีระยะใดที่ไม่มีชีวิต
 ตั้งแต่นั้นมา วัดคาธอลิค ก็ถือว่า การทำแท้งเป็นการฆาตกรรม และผู้ทำต้องถูกลงโทษอย่างหนัก
·         ปี ค.. 1803 กฎหมายต่อต้านการทำแท้ง เริ่มใช้เป็นครั้งแรกในประเทศอังกฤา
·         ปี ค.. 1821 รัฐคอนเน็คติกัต ได้ลงโทษการทำแท้ง ขณะที่เด็กทารกในครรภ์ดิ้น โดยให้ดื่มยาพิษ (รัฐอื่น ๆ ถือว่าการทำแท้งผิดกฎหมาย)
·         ปี ค.. 1860 ยกเว้นให้มีการทำแท้งได้ ถ้าจำเป็นเพื่อช่วยชีวิตสตรี

การทำแท้งกลายเป็นอาชญากรรม
1.        เดิมการทำแท้งทำให้ติดเชื้อ
-          มีโรคแทรกซ้อนเกิดขึ้น สตรีถึงแก่ชีวิต
-          กลาง ศ. 19 คลื่อมนุษยธรรมในการปกป้องสตรี ได้กดดันให้ออกกฎหมายทำแท้ง
2.        การสูญเสียประชากร
-          การขาดแคลนแรงงาน
3.        แนวความคิดที่ว่า กามารมณ์เป็นสิ่งเลวร้าย การตั้งครรภ์เป็นการลงโทษความสุขที่เกิดจากความสัมพันธ์ทางเศ ความเจ็บปวดที่ได้รับจากการทำแท้งจะเป็นบทเรียนให้สตรี รู้สึกเข็ดหลาบต่อกามารมณ์

พฤติกรรมการทำแท้ง นอกเหนือจากกฎหมายกำหนด เป็นพฤติกรรมเบี่ยงเบน
สาเหตุ
1.  สังคม
·         เนื่องจากสภาพสังคมที่เปลี่ยนไป เช่น ค่านิยมในเรื่องการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
·         ปัญหาอาชญากรรม การข่มขืนที่เพิ่มมากขึ้น
2.  เศรษฐกิจ
·         การมีปัญหาเศรษฐกิจ ทำให้ไม่สามารถเลี่ยงดูบุตรได้
3.  การแพทย์
·         การประสบปัญหาสุขภาพ ทำให้ผู้เป็นแม่ไม่สามารถมีบุตรได้
การทำแท้ง ขัดต่อ
- บรรทัดฐาน
- ขนบธรรมเนียมประเพณี
- ศีลธรรม


                                                              


                                     




แนวทางการแก้ไขปัญหานี้ควรมียุทธศาสตร์การป้องกันการตั้งครรภ์และโรคเอดส์ในวัยรุ่นโดยเฉพาะ  เน้นในเรื่องการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้ที่เกี่ยวกับการตั้งครรภ์ของหญิงที่อายุต่ำกว่า 20 ให้มากขึ้น  รณรงค์ให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา  อนามัยเจริญพันธ์  เพื่อการป้องกัน การคุมกำเนิด การวางแผนครอบครัว  ส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัยป้องกันโรคและตั้งครรภ์  ปลูกฝังทัศนคติที่ถูกต้องในเรื่องความเป็นตัวตนชาย และ หญิง  ผลักดันเป็นวาระแห่งชาติ  อยู่ในแผนแม่บท นโยบายระดับประเทศ ระดับจังหวัด  รวมทั้งแผนระดับอำเภอ  ตำบล  มีการบูรณาการการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ  โดยผ่านการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์  มีการติดตาม กำกับประเมินผล  ศึกษาวิจัยหารูปแบบการดำเนินงานให้เหมาะสมแต่ละพื้นที่ต่อไป
ไม่ใช้เข็มร่วมกัน สวมถุงยางอนามัยทุกครั้ง หยุดยั้งโรคเอดส์

                                                    






การแท้ง (อังกฤษ: abortion) คือการยุติการตั้งครรภ์ที่ระยะใดก็ตามที่ไม่ทำให้เกิดการเกิดรอด มักจะหมายถึงการยุติการตั้งครรภ์โดยการขับหรือนำเอ็มบริโอหรือทารกในครรภ์ออกจากมดลูกก่อนที่เอ็มบริโอหรือทารกในครรภ์นั้นจะสามารถอยู่รอดได้ การแท้งอาจเกิดขึ้นเองหรือเกิดจากการทำแท้งด้วยสารเคมีหรือศัลยกรรมก็ได้ การทำแท้งส่วนใหญ่กระทำโดยสูตินรีแพทย์ โดยสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิดสามารถแท้งได้
การทำแท้งอย่างถูกกฎหมายในประเทศที่พัฒนาแล้วเป็นหัตถการหนึ่งในทางการแพทย์ที่ปลอดภัยมาก การทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย(เช่น ทำโดยผู้ที่ไม่ได้รับการอบรมฝึกฝนมาอย่างถูกต้อง)ทำให้มารดาเสียชีวิตถึง 70,000 ราย และทุพพลภาพ ถึง 5,000,000 รายจากทั่วโลก ในแต่ละปีมีการทำแท้งเกิดขึ้น 42,000,000 ครั้งทั่วโลก โดยในจำนวนนี้มีถึง 20,000,000 ครั้งที่ทำโดยไม่ปลอดภัย มีเพียงร้อยละ 49 ของประชากรหญิงทั่วโลกที่เข้าถึงการทำแท้งเพื่อการรักษาและการทำแท้งโดยสมัครใจในอายุครรภ์ที่เหมาะสม
การทำแท้งมีมาในประวัติศาสตร์นานแล้ว โดยใช้วิธีการต่างๆ ทั้งการใช้สมุนไพร ของมีคม วิธีทางกายภาพและวิธีการดั้งเดิมต่างๆ ในขณะที่แพทย์แผนปัจจุบันทำแท้งด้วยยาหรือศัลยกรรม แต่ละพื้นที่ทั่วโลกมีมิติทาง[[กฎหมาย] ศาสนา วัฒนธรรม และความนิยมที่มีต่อการทำแท้งแตกต่างกันไปโดยในบางพื้นที่มีการโต้เถียงกันอย่างรุนแรงในประเด็นทางจริยธรรมและ[[กฎหมาย]เกี่ยวกับการทำแท้ง การทำแท้งและประเด็นเกี่ยวกับการทำแท้งถูกหยิบยกมาเป็นหัวข้ออภิปรายและใช้ในการวางนโยบายทางการเมืองหลายประเทศ ทั้งในสายสนับสนุนที่เห็นว่าการทำแท้งเป็นสิทธิของสตรีที่ตั้งครรภ์และสายต่อต้านที่เห็นว่าทารกที่กำเนิดขึ้นมาในครรภ์มีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ด้วยเช่นกัน อุบัติการณ์ของการทำแท้งทั่วโลกมีแนวโน้มลดลงจากการเข้าถึงสุขศึกษาการวางแผนครอบครัวและการบริการเพื่อการคุมกำเนิดที่มีมากขึ้น
การแท้งมีหลายแบบ  1. การทำแท้ง 2 .การแท้งเอง 3 .การแท้งด้วยยา3. การทำแท้งด้วยศัลยกรรม4. การทำแท้งด้วยวิธีอื่น
และมีอีกสาเหตุหนึ่งที่ต้องทำแท้งคือการที่เด็กจะออกมาแล้วไม่สมประกอบ  เช่น ไม่แขน  ขาพิการตามร่างกายก็สามารถที่จะทำแท้งได้แบบที่ไม่ผิดกฏหมาย






วัยรุ่นหญิงอยู่หอนอก เสี่ยงท้องและโรคติดต่อทางเพศ! 
ปัจจุบันปัญหาเด็กและเยาวชนได้ทวีความรุนแรงและซับซ้อนมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะจังหวัดที่มีขนาดใหญ่และมีสถาบันการศึกษาตั้งอยู่  จังหวัดพิษณุโลกเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจและการศึกษา  เป็นศูนย์กลางการพัฒนาและเชื่อมต่อไปยังภูมิภาคอินโดจีน อีกทั้งยังเป็นแหล่งผลิตบัณฑิตรองรับตลาดแรงงานที่ขยายตัว เพราะว่ามีสถาบันการศึกษาจำนวนมาก  จึงพบว่ามีหอพักเอกชนในจังหวัดพิษณุโลกที่จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย และที่ยังไม่ได้จดทะเบียนหรือเรียกว่า หอพักเถื่อนมีอยู่เป็นจำนวนมาก  โดยเฉพาะรอบๆสถานศึกษา  จากข้อมูลการศึกษาพบว่าการที่เยาวชนรวมตัวกันอยู่ในหอพักนอกสถานศึกษา  พบการใช้เวลาว่างที่ไม่เป็นประโยชน์  และเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องเพศ  ยาเสพติด   การดื่มเหล้า และสูบบุหรี่ มากกว่าเยาวชนที่พักหอในสถานศึกษา มากถึงประมาณ 6 เท่า
สาเหตุส่วนมากของการท้องในกลุ่มเยาวชน คือ
1) มาจากครอบครัวที่มีระดับเศรษฐกิจและการศึกษาในระดับต่ำ รายได้น้อย 
2) อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม
3) ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องเพศศึกษา การวางแผนครอบครัว การคุม  
    กำเนิดที่ถูกต้อง
4) มีเจตคติและค่านิยมต่อการตั้งครรภ์หรือการยอมรับการมีบุตร
5) ขาดวุฒิภาวะที่เหมาะสมด้านอารมณ์และประสบการณ์
แนวทางการแก้ไขปัญหานี้ควรมียุทธศาสตร์การป้องกันการตั้งครรภ์และโรคเอดส์ในวัยรุ่นโดยเฉพาะ  เน้นในเรื่องการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้ที่เกี่ยวกับการตั้งครรภ์ของหญิงที่อายุต่ำกว่า 20 ให้มากขึ้น  รณรงค์ให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา  อนามัยเจริญพันธ์  เพื่อการป้องกัน การคุมกำเนิด การวางแผนครอบครัว  ส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัยป้องกันโรคและตั้งครรภ์  ปลูกฝังทัศนคติที่ถูกต้องในเรื่องความเป็นตัวตนชาย และ หญิง  ผลักดันเป็นวาระแห่งชาติ  อยู่ในแผนแม่บท นโยบายระดับประเทศ ระดับจังหวัด  รวมทั้งแผนระดับอำเภอ  ตำบล  มีการบูรณาการการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ  โดยผ่านการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์  มีการติดตาม กำกับประเมินผล  ศึกษาวิจัยหารูปแบบการดำเนินงานให้เหมาะสมแต่ละพื้นที่ต่อไป
ไม่ใช้เข็มร่วมกัน สวมถุงยางอนามัยทุกครั้ง หยุดยั้งโรคเอดส์

วันพุธที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2554

วัยรุ่นหญิงอยู่หอนอก เสี่ยงท้องและโรคติดต่อทางเพศ! 
ปัจจุบันปัญหาเด็กและเยาวชนได้ทวีความรุนแรงและซับซ้อนมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะจังหวัดที่มีขนาดใหญ่และมีสถาบันการศึกษาตั้งอยู่  จังหวัดพิษณุโลกเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจและการศึกษา  เป็นศูนย์กลางการพัฒนาและเชื่อมต่อไปยังภูมิภาคอินโดจีน อีกทั้งยังเป็นแหล่งผลิตบัณฑิตรองรับตลาดแรงงานที่ขยายตัว เพราะว่ามีสถาบันการศึกษาจำนวนมาก  จึงพบว่ามีหอพักเอกชนในจังหวัดพิษณุโลกที่จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย และที่ยังไม่ได้จดทะเบียนหรือเรียกว่า หอพักเถื่อนมีอยู่เป็นจำนวนมาก  โดยเฉพาะรอบๆสถานศึกษา  จากข้อมูลการศึกษาพบว่าการที่เยาวชนรวมตัวกันอยู่ในหอพักนอกสถานศึกษา  พบการใช้เวลาว่างที่ไม่เป็นประโยชน์  และเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องเพศ  ยาเสพติด   การดื่มเหล้า และสูบบุหรี่ มากกว่าเยาวชนที่พักหอในสถานศึกษา มากถึงประมาณ 6 เท่า



สาเหตุส่วนมากของการท้องในกลุ่มเยาวชน คือ
1) มาจากครอบครัวที่มีระดับเศรษฐกิจและการศึกษาในระดับต่ำ รายได้น้อย 
2) อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม
3) ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องเพศศึกษา การวางแผนครอบครัว การคุม  
    กำเนิดที่ถูกต้อง
4) มีเจตคติและค่านิยมต่อการตั้งครรภ์หรือการยอมรับการมีบุตร
5) ขาดวุฒิภาวะที่เหมาะสมด้านอารมณ์และประสบการณ์
แนวทางการแก้ไขปัญหานี้ควรมียุทธศาสตร์การป้องกันการตั้งครรภ์และโรคเอดส์ในวัยรุ่นโดยเฉพาะ  เน้นในเรื่องการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้ที่เกี่ยวกับการตั้งครรภ์ของหญิงที่อายุต่ำกว่า 20 ให้มากขึ้น  รณรงค์ให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา  อนามัยเจริญพันธ์  เพื่อการป้องกัน การคุมกำเนิด การวางแผนครอบครัว  ส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัยป้องกันโรคและตั้งครรภ์  ปลูกฝังทัศนคติที่ถูกต้องในเรื่องความเป็นตัวตนชาย และ หญิง  ผลักดันเป็นวาระแห่งชาติ  อยู่ในแผนแม่บท นโยบายระดับประเทศ ระดับจังหวัด  รวมทั้งแผนระดับอำเภอ  ตำบล  มีการบูรณาการการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ  โดยผ่านการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์  มีการติดตาม กำกับประเมินผล  ศึกษาวิจัยหารูปแบบการดำเนินงานให้เหมาะสมแต่ละพื้นที่ต่อไป
ไม่ใช้เข็มร่วมกัน สวมถุงยางอนามัยทุกครั้ง หยุดยั้งโรคเอดส์
ประเภทหลักของ abortions เป็น
* การแท้งธรรมชาติ
* การชักนำให้เกิดการทำแท้ง
การ แท้งธรรมชาติ : ธรรมชาติทำแท้งขับออกตามธรรมชาติของทารกในครรภ์ inviable เนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อในมดลูก, มีสาเหตุมาจากปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายในปัจจัยทางชีวภาพหรือปัจจัยภายนอก อื่น ๆ เช่นการบาดเจ็บการทำแท้งเกิดขึ้นเองได้ทำล้านชีวิตมารดาของอนาถมากคือ . ผู้หญิง ที่มีประวัติของการแท้งเกิดขึ้นเองอาจจะทุกข์ทรมานจากโรคทางระบบหรืออายุ เกินขีดประมาณ 35 ปีอายุมากขึ้นความเสี่ยงที่จะมีการทำแท้ง
การ ชักนำให้เกิดการทำแท้ง : การทำแท้งคือการทำแท้งเพื่อหลีกเลี่ยงการยั่วยุเทียมการตั้งครรภ์ที่ไม่พึง ประสงค์ซึ่งเป็นเพราะความล้มเหลวหรือขาดการคุมกำเนิด

สาเหตุทั่วไปของการแท้งเกิดขึ้นเองได้
* การปลูกที่ไม่ถูกต้องของตัวอ่อนในมดลูก
* ข้อบกพร่องหรือผิดปกติของโครโมโซมจำลองอาจทำให้เกิดการแท้งธรรมชาติ
* บาดเจ็บภายนอกเนื่องมาจากอุบัติเหตุอาจทำให้เกิดการแท้งธรรมชาติ
* ความไม่สมดุลของฮอร์โมนในระหว่างตั้งครรภ์อาจทำให้เกิดการแท้งธรรมชาติ
* เข้ากันไม่ได้ปัจจัย Rh อาจก่อให้เกิดการแท้งในช่วงตั้งครรภ์
* การบริโภคของสารพิษ
* รุนแรงและการรบกวนทางอารมณ์
* เพศสัมพันธ์ระหว่างตั้งครรภ์ที่มีความรุนแรงยังทำให้เกิดการแท้งธรรมชาติ
เหล่านี้เป็นสาเหตุหลักของการแท้งเกิดขึ้นเองในระหว่างตั้งครรภ์

วันพุธที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

เเนะนำการจัดการตั้งครรไม่พึงประสงค์

สาเหตุส่วนมากที่อาจเกิดการทำเเท้ง  คือ
1) มาจากครอบครัวที่มีระดับเศรษฐกิจและการศึกษาในระดับต่ำ รายได้น้อย 
2) อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม
3) ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องเพศศึกษา การวางแผนครอบครัว การคุม  
    กำเนิดที่ถูกต้อง
4) มีเจตคติและค่านิยมต่อการตั้งครรภ์หรือการยอมรับการมีบุตร
5) ขาดวุฒิภาวะที่เหมาะสมด้านอารมณ์และประสบการณ์
แนวทางการแก้ไขปัญหานี้ควรมียุทธศาสตร์การป้องกันการตั้งครรภ์และโรคเอดส์ในวัยรุ่นโดยเฉพาะ  เน้นในเรื่องการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้ที่เกี่ยวกับการตั้งครรภ์ของหญิงที่อายุต่ำกว่า 20 ให้มากขึ้น  รณรงค์ให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา  อนามัยเจริญพันธ์  เพื่อการป้องกัน การคุมกำเนิด การวางแผนครอบครัว  ส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัยป้องกันโรคและตั้งครรภ์  ปลูกฝังทัศนคติที่ถูกต้องในเรื่องความเป็นตัวตนชาย และ หญิง  ผลักดันเป็นวาระแห่งชาติ  อยู่ในแผนแม่บท นโยบายระดับประเทศ ระดับจังหวัด  รวมทั้งแผนระดับอำเภอ  ตำบล  มีการบูรณาการการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ  โดยผ่านการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์  มีการติดตาม กำกับประเมินผล  ศึกษาวิจัยหารูปแบบการดำเนินงานให้เหมาะสมแต่ละพื้นที่ต่อไป
ไม่ใช้เข็มร่วมกัน สวมถุงยางอนามัยทุกครั้ง หยุดยั้งโรคเอดส์          
เมื่อถามถึงความเชื่อ ต่อเจ้ากรรมนายเวร พบว่า ส่วนใหญ่ หรือ ร้อยละ 80.9 ยังเชื่อเรื่องเจ้ากรรมนายเวร และกฎแห่งกรรมอยู่ ในขณะที่ ร้อยละ 8.9 ไม่เชื่อ และร้อยละ 10.2 ไม่มีความเห็น เมื่อถามถึงกลุ่มคน ที่คาดว่าจะมีการทำแท้ง พบว่า ส่วนใหญ่ หรือ ร้อยละ 81.8 ระบุเป็นเด็กวัยรุ่นใจแตก ร้อยละ 73.2 ระบุเป็นหญิงบริการทางเพศ ร้อยละ 70.6 ระบุเป็นผู้หญิงที่ถูกข่มขืน ร้อยละ 68.4 คิดว่าเป็นผู้หญิงที่มีปัญหาสุขภาพ มีผลสำรวจของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งระบุว่า คนไทยร้อยละ 93.5 ทราบว่าวันที่ 14 กุมภาพันธ์ เป็นวันวาเลนไทน์ ในขณะที่มีเพียงร้อยละ 54 เท่านั้นที่รู้ว่า ก่อนหน้าวันวาเลนไทน์ไม่กี่วัน ในวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 3 เป็นวันสำคัญทางศาสนา คือ วันมาฆบูชา ผลสำรวจนี้แสดงให้เห็นว่าคนไทยส่วนใหญ่ห่างไกลศาสนา และตกเป็นทาสของวัฒนธรรมตะวันตก จึงไม่น่าแปลกใจที่เด็กไทยยุคใหม่จะใจกว้าง กล้าโชว์เนื้อหนังมังสากันมากขึ้น ไม่เว้นแม้กระทั่งในขณะที่กำลังแต่งชุดนักศึกษา และยังไม่หวงเนื้อหวงตัว ไม่เห็นว่าพรหมจรรย์มีความหมาย มีความสำคัญอีกต่อไป ffice ffice" /><O ></O >
วันวาเลนไทน์ในปัจจุบัน จึงกลายเป็นวันที่เด็กหญิงอายุระหว่าง 14-15 ปี พร้อมที่จะเสียตัว เสียพรหมจรรย์มากที่สุด นับเป็นวันขาดสติของเด็ก เด็กจะไม่สนใจเรื่องอื่น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องครอบครัว เรื่องการเรียน มีความยับยั้งชั่งใจต่ำ แต่ความปรารถนาจะขึ้นถึงขีดสุด เนื่องจากมีสิ่งเร้ารอบตัวเด็กมากมาย ทั้งการ์ตูนลามก คลิปวิดีโอ และวีซีดีโป๊ ที่หาซื้อได้ทั่วไป ทั้งยังสามารถดาวน์โหลดได้จากในเว็ปไซต์ต่างๆ อีกด้วย<O ></O >